30/6/57
Introduce Myself
Hello !!
I'm Atchara Nunchuphon. You can call me " Tahn " .
I'm studying English in Faculty of Education ,Nakorn Si Thammarat Rajabhat university.
I was born on 3 August 1992.
My hometown is Trang province.
Connect me @ Facebook >> Atchara Srp
1/10/56
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
.....วิวัฒนาการและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือ CAI สามารถสรุปความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนพอสังเขป ได้ดังนี้ (ศูนย์คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ, 2545)
.....ปี ค.ศ. 1950 ศูนย์วิจัยของ IBM ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยงาน ด้านจิตวิทยา นับเป็นจุดเริ่มต้นของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
.....ปี ค.ศ. 1958 มหาวิทยาลัยฟลอริดา สหรัฐอเมริกา พัฒนา คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ช่วยทบทวนวิชาฟิสิกส์ และสถิติ พร้อมๆ กับมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ได้นำคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
.....ปี ค.ศ. 1960 มหาวิทยาลัยอิลินอย จัดทำ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ด้านจิตวิทยาการศึกษา และวิศวกรรมศาสตร์ ภายใต้ชื่อ PLATA CAI - Programmed Learning for Automated Teaching Operations CAI ปี ค.ศ. 1970 มีการนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้ในทวีปยุโรป โดยฝรั่งเศษ และอังกฤษ เป็นผู้เริ่มต้น
..... ปี ค.ศ. 1671 มหาวิทยาลัย Taxas และ Brigcam Young ร่วมกันพัฒนา คอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับมินิคอมพิวเตอร์ โดยผสมผสานคอมพิวเตอร์กับโทรทัศน์ ช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ภายใต้โครงการ TICCIT - Time-shared Interactive Computer Controlled Information Television
.....ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น เพราะความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ อันได้แก่ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย เทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารข้อมูล ทำให้สามารถผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและทำการเผยแพร่บทเรียนได้อย่างประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งแนวโน้มในอนาคตต่อไปอันใกล้นี้ เราอาจพบเห็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนำเสนอผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมากขึ้น ซึ่งเราเรียกว่า CAI on Web
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI คืออะไร?
CAI ย่อมาจากคำว่า COMPUTER-ASSISTED หรือ AIDED INSTRUCTION
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หมายถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสื่อประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุดโดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้เกิดความต้องการที่ จะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดีของสื่อการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ (FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อ ที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลาคุณลักษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
คุณลักษณะที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4 ประการ ได้แก่
1. สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระที่ได้รับการเรียบเรียง ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หรือได้รับทักษะอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ผู้สร้างได้กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ การนำเสนออาจเป็นไปในลักษณะทางตรง หรือทางอ้อมก็ได้ ทางตรงได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทติวเตอร์ เช่นการอ่าน จำ ทำความเข้าใจ ฝึกฝน ตัวอย่าง การนำเสนอในทางอ้อมได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมและการจำลอง
2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization) การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล คือลักษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันทางการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อประเภทหนึ่งจึงต้องได้รับการออกแบบให้มีลักษณะที่ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลให้มากที่สุด
3. การโต้ตอบ (Interaction) คือการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเรียน การสอนรูปแบบที่ดีที่สุดก็คือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้มากที่สุด
4.การให้ผลป้อนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ผลป้อนกลับหรือการให้คำตอบนี้ถือเป็นการ เสริมแรงอย่างหนึ่ง การให้ผลป้อนกลับแก่ผู้เรียนในทันทีหมายรวมไปถึงการที่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สมบูรณ์จะต้องมีการ ทดสอบหรือประเมินความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาหรือทักษะต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
1. ช่วยให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อน สามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึกฝนทักษะ และเพิ่มเติมความรู้ เพื่อปรับปรุงการเรียนของตน
2. ผู้เรียนสามารถนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในการเรียนด้วยตนเองในเวลา และสถานที่ที่สะดวก
3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะจูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น สนุกสนานไปกับการเรียน
ข้อพึงระวังของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
* ผู้สอนจะต้องมีความพร้อม ความชำนาญในการสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
* ผู้สอนควรมีการวางแผน และเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนให้รอบคอบ ก่อนนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้อย่างเหมาะสม
* การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้มาตรฐานเป็นสิ่งสำคัญมาก หากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไม่ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม จะทำให้ผู้เรียนรู้สึกเบื่อหน่ายและไม่ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น ๆ
* ผู้ที่สนใจสร้างคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควรที่คำนึงเวลาในการผลิตว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้มาตรฐานนั้นต้องใช้เวลาเท่าไร
24/6/56
Project
เค้าโครงโครงงานภาษาอังกฤษ
1.หัวข้อโครงงาน (Title)
1.หัวข้อโครงงาน (Title)
2.ชื่อผู้ทำโครงงาน (Author)
3.ที่ปรึกษาโครงงาน (Advisor)
4.ที่มาของปัญหา (Statement of the Problem)
5.วัตถุประสงค์ของโครงงาน (Objective)
6.วิธีดำเนินการ (Process)
7.ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Result)
8.เอกสารอ้างอิง (Reference)
15/6/56
The Difficulties and Challenges of Teachers’ Integrating Computer Assisted Instruction into Teaching
The Brief History of Computer Assisted Language Learning
Summarize CALL in each
phase.
1.Behaviorist CALL
2.Communication
3.Integrative CALL
ประวัติโดยย่อของ CALL
1.Behaviorist CALL เริ่มใช้สอนตั้งแต่
1960 และ 1970 เป็นการเรียนการสอนแบบฝึกทำซ้ำๆเพื่อเป็นการกระตุ้นในการรับข้อมูล
ซึ่งตัวโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นติวเตอร์ มีการพัฒนาเป็นระบบ PLATO
เป็นโปรแกรมการสอนในคอม PLATOทำงานด้วยฮาร์ดแวร์พิเศษซึ่งประกอบด้วยคำศัพท์
อธิบายหลักไวยากรณ์โดยย่อและแปลภาษา
2.Communicative CALL จะเน้นวิธีการสอนการสื่อสารเป็นสำคัญ เริ่มต้นตั้งแต่ปี1970และช่วงต้น1980 communicative CALLช่วงแรกๆจะทำหน้าที่เป็นติวเตอร์ เพื่อให้นักเรียนมีตัวเลือก ควบคุมและผสมผสานเข้าด้วยกัน นอกจากนั้นยังทำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นเเละเป็นเครื่องมืออีกด้วย ช่วงต่อมาจะทำหน้าที่ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในกระบวนการสร้างคำ สะกดคำ หลักไวยากรณ์ ซึ่งจะติดตั้งโปรแกรมอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
3.Integrative CALL เป็นที่รู้จักในช่วง 1980 และช่วงต้น1990 เริ่มบูรณาการทักษะต่างๆไม่ว่าจะเป็นการฟัง การพูด การเขียน และการอ่าน เทคโนโลยีมีบทบาทในกระบวนการเรียนมายิ่งขึ้น นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากสิ่งแวดล้อมต่างๆและสามารถสืบหาข้อมูลได้อย่างกว้างโดยผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
2.Communicative CALL จะเน้นวิธีการสอนการสื่อสารเป็นสำคัญ เริ่มต้นตั้งแต่ปี1970และช่วงต้น1980 communicative CALLช่วงแรกๆจะทำหน้าที่เป็นติวเตอร์ เพื่อให้นักเรียนมีตัวเลือก ควบคุมและผสมผสานเข้าด้วยกัน นอกจากนั้นยังทำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นเเละเป็นเครื่องมืออีกด้วย ช่วงต่อมาจะทำหน้าที่ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในกระบวนการสร้างคำ สะกดคำ หลักไวยากรณ์ ซึ่งจะติดตั้งโปรแกรมอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
3.Integrative CALL เป็นที่รู้จักในช่วง 1980 และช่วงต้น1990 เริ่มบูรณาการทักษะต่างๆไม่ว่าจะเป็นการฟัง การพูด การเขียน และการอ่าน เทคโนโลยีมีบทบาทในกระบวนการเรียนมายิ่งขึ้น นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากสิ่งแวดล้อมต่างๆและสามารถสืบหาข้อมูลได้อย่างกว้างโดยผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
The Significance and Trends of Instructional Technology
ความสำคัญและเทรนด์ในการเรียนการสอน
CALL หาสื่อที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและครูผู้สอนจะต้องประเมินด้วยว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
1.คอมพิวเตอร์มีอยู่ทั่วๆไปในโรงเรียน สถาบันการศึกษาระดับสูง เพราะฉะนั้นนักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงสื่อคอมพิวเตอร์ได้
2.การเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆที่อยู่ไกลๆเหมือนกันทั่วโลก
3.เทคโนโลยีทางการศึกษาเพิ่มขึ้นทั้งที่บ้านและสังคม
4.ความต้องการใหม่ คือ ครูต้องนำเทคโนโลยีมาใช้ได้
5.เครือข่ายเป็นวิธีการที่เร็วในการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
6.การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
7.ระบบการส่งต่อข้อมูลสำหรับการศึกษาเพิ่มมากขึ้น
8.เทคโนโลยีถือเป็นการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิรูปการศึกษา
CALL หาสื่อที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและครูผู้สอนจะต้องประเมินด้วยว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
1.คอมพิวเตอร์มีอยู่ทั่วๆไปในโรงเรียน สถาบันการศึกษาระดับสูง เพราะฉะนั้นนักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงสื่อคอมพิวเตอร์ได้
2.การเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆที่อยู่ไกลๆเหมือนกันทั่วโลก
3.เทคโนโลยีทางการศึกษาเพิ่มขึ้นทั้งที่บ้านและสังคม
4.ความต้องการใหม่ คือ ครูต้องนำเทคโนโลยีมาใช้ได้
5.เครือข่ายเป็นวิธีการที่เร็วในการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
6.การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
7.ระบบการส่งต่อข้อมูลสำหรับการศึกษาเพิ่มมากขึ้น
8.เทคโนโลยีถือเป็นการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิรูปการศึกษา
The Principles and Factors are Applied in Technologyหลักการและปัจจัยที่ประยุกต์ใช้
Motivation การกระตุ้น
Motivation การกระตุ้น
1.ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
2.กระตุ้นให้มีการรับรู้ของผู้เรียน
3.กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนการสอน
The special function of teaching หน้าที่หลักของการสอน
1.ช่วยให้ผู้เรียนพบปัญหาและการแก้ปัญหา
2.ติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียน
3.ช่วยผู้เรียนได้เชื่อมต่อแหล่งข้อมูลต่างๆ
Help new teaching strategies ส่งเสริมกลยุทธ์ต่างๆ
Help new teaching strategies ส่งเสริมกลยุทธ์ต่างๆ
1.ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
เป็นการเรียนแบบร่วมมือ เน้นงานกลุ่ม
2.แบ่งปันกระจายความรู้ กระจายความเก่งแต่ละคน
3.ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการเเก้ปัญหา
2.แบ่งปันกระจายความรู้ กระจายความเก่งแต่ละคน
3.ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการเเก้ปัญหา
Enhance teachers’ productivity ช่วยครู
1.ส่งเสริมเพิ่มพูนชิ้นงานของครู
2.ประหยัดเวลาในการออกแบบ
The Study การเรียนการศึกษา
ผลิตสื่อ ใช้ Power Point นำเสนอ นำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อฝึกทั้งการฟังและการพูด ใช้ using email,chat เพื่อแลกเปลี่ยนหรือเป็นข้อมูลเพิ่มเติม ให้ผู้เรียนทำโครงงานเพื่อพัฒนาการสื่อสาร โดยทำโครงงานเป็นสื่อการเรียนการสอน และสามารถนำคอมมาใช้ทั้งฟังและพูดในรูปแบบภาพยนตร์ วีดิโอ ซีดีรอม และครูจะสร้าง E-learning เพื่อที่จะให้นักเรียนโพสต์และดูงานหรือแก้ไขงานของคนอื่นๆได้
1.ผู้เรียนได้ทำงานเป็นกลุ่ม4-5คน
2.ครูให้หัวข้อ เพื่อที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนครูก็เปิดCD-ROM
3.ครูหาข้อมูล,วิธีการต่างๆให้ผู้เรียนได้ค้นหาข้อมูล
4.สมาชิกในกลุ่มมีความรับผิดชอบ และมาพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกัน เพื่อบูรณาการในการแก้ปัญหา
5.ถ่ายวีดิโอเพิ่มเพลงหรือเพิ่มสิ่งอื่นๆ
6.รวบรวมขอมูลต่างๆที่สัมภาษณ์
7.สมาชิกแต่ละกลุ่มโพสต์งานของตัวเอง
8.นำเสนอโดยการใช้วีดิโอหรือPowerpoint
9.ครูและนักเรียนตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
2.ประหยัดเวลาในการออกแบบ
The Study การเรียนการศึกษา
ผลิตสื่อ ใช้ Power Point นำเสนอ นำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อฝึกทั้งการฟังและการพูด ใช้ using email,chat เพื่อแลกเปลี่ยนหรือเป็นข้อมูลเพิ่มเติม ให้ผู้เรียนทำโครงงานเพื่อพัฒนาการสื่อสาร โดยทำโครงงานเป็นสื่อการเรียนการสอน และสามารถนำคอมมาใช้ทั้งฟังและพูดในรูปแบบภาพยนตร์ วีดิโอ ซีดีรอม และครูจะสร้าง E-learning เพื่อที่จะให้นักเรียนโพสต์และดูงานหรือแก้ไขงานของคนอื่นๆได้
1.ผู้เรียนได้ทำงานเป็นกลุ่ม4-5คน
2.ครูให้หัวข้อ เพื่อที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนครูก็เปิดCD-ROM
3.ครูหาข้อมูล,วิธีการต่างๆให้ผู้เรียนได้ค้นหาข้อมูล
4.สมาชิกในกลุ่มมีความรับผิดชอบ และมาพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกัน เพื่อบูรณาการในการแก้ปัญหา
5.ถ่ายวีดิโอเพิ่มเพลงหรือเพิ่มสิ่งอื่นๆ
6.รวบรวมขอมูลต่างๆที่สัมภาษณ์
7.สมาชิกแต่ละกลุ่มโพสต์งานของตัวเอง
8.นำเสนอโดยการใช้วีดิโอหรือPowerpoint
9.ครูและนักเรียนตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
Difficulties of Applying Computer Assisted Instruction to
Teaching
1.อุปกรณ์ในห้องเรียนไม่คงที่ ไม่เพียงพอ
ยากต่อการใช้งานอผู้บริหารและผู้ดูแลระบบไม่มีเวลาช่วยครูให้ทันเวลา
2.การให้ความสำคัญ งบประมาณการดูแลคอมพิวเตอร์ขาดแคลน อุปกรณ์มีจำกัด
ไม่ได้ใช้งานอย่างที่คาดหวัง ผู้บริหารไม่สนับสนุน
ความเชื่อของครูก็มีส่วนสำคัญไม่ว่าครูใช้เทคโนโลยีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความเชื่อของครู
3.การใช้สื่อของครู
The solution to the problems of applying computer assisted
instruction to teaching
**
ผู้บริหารควรสนับสนุน เพิ่มความเชื่อถือในการสอนของครู
ตอบสนองความต้องการของสังคม มีทัศนคติในการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง
ใช้สื่อที่หลากหลายรูปแบบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)